AM TRADE  

E Mail : [email protected] โทรสายด่วน คุณ สันติ 089 669 1099                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                          
 

 สถิติวันนี้ 3 คน
 สถิติเมื่อวาน 58 คน
 สถิติเดือนนี้
สถิติปีนี้
สถิติทั้งหมด
785 คน
3089 คน
516795 คน
เริ่มเมื่อ 2010-01-30

                                                              

สาระ วิธีทำความสะอาด

ความรู้เรื่องรอยร้าวของพนังอาคาร 

ภาพเมืองเก่าในอดีต

บทความ เรื่องแกนโลกเอียง

มะเร็ง..คุณมีโอกาศหาย

 

 

 สนใจติดต่อได้ที่

Line Id : santi009

คุณ สันติ โทร 089 669 1099

คุณ เขมมิกา 086 887 4692

E Mail : [email protected]

 

 

 

 

 

 

 

สาระ วิธีกำจัดกลิ่นเหม็น 

   

Custom Search

ตัวอย่างเฟรมที่ตัดไม่ขนาด

การยาแนว รอยต่อระหว่างเฟรม และ ปูนต์ ไม่ดี หรือ ยาแนวหลุด

ตัวอย่างเฟรมที่ตัดไม่พอดีกับขอบปูนต์

บริษัท ฯ รับซ่อมแซม แก้ไขปัญหา น้ำรั่วซึม
 เข้าทางผนังตึก รั่วทางหน้าต่างประตู รั่วทางด้าดฟ้า น้ำรั่วซึมจากผนังภายนอกอาคารสูง น้ำรั่วจากสาเหตุรอยแตกแยกจากการต่อเติมบ้าน
ผนังคอนกรีตแตกร้าวรั่วซึม ผนังรอยต่อรั่วซึมอาคารสูง หลังคาโดม ปัญหาน้ำรั่วซึม ขอบกระจก อาคารสูง และไม่สามารถแก้ไขปัญหาจากภายในอาคารได้
 ตึกสูง อาคารสูง คอนโดมิเนียม
- รับซ่อม หลังคากระจกรั่วซึม (SKY LIGHT) หลังคาโปร่งแสง หลังคาใส หลังคาโดมรั่ว หลังคารั่ว ดาดฟ้ารั่ว รอยแตกร้าว รอยรั่วซึม รอย
ต่อผนังกระจกรั่วซึม (CURTAIN WALL) กรอบกระจกรั่วซึม
กรอบหน้าต่างน้ำรั่วซึม หน้าต่างน้ำรั่ว หน้าต่างน้ำซึม น้ำรั่วซึมหน้าต่าง หน้าต่างรั่ว หน้าต่างซึม กรอบกระจกรั่ว กรอบกระจกน้ำซึม
รับซ่อมแซมแก้ปัญหาน้ำรั่วซึมตามกรอบหน้าต่างอาคารต่าง ๆ และอาคารสูง ซึ่งเวลาฝนตกน้ำฝนไหลอาบผนังภายนอกอาคาร หรือฝนสาดเข้ามาแล้วกรอบหน้าต่างมีอาการน้ำรั่วซึมเข้ามาภายในบ้านหรืออาคาร แล้วสร้างความเสียหายให้กับสิ่งของและเอกสารต่าง ๆ


ปัญหาของการรั่วซึมเข้ามาด้านในของอาคารได้ มาจาก 3 ทางใหญ่ ๆ

1 น้ำรั่วซึมทางหน้าต่าง-ประตู ปัญหามาจากหลายสาเหตุ เช่น 
-  รอยต่อระหว่างเฟรมอลูมิเนียม กับ เฟรมอลูมิเนียม ไม่ดี เกิดจากการตัดที่ไม่ได้ฉาก หรือ การตัดที่ไม่เข้ามุม 45 องศา พอดี ทำให้เวลาฝนแตกลงมาระยะเวลาหนึ่ง น้ำจากภายนอกอาคารสามารถซึมเข้ามาได้
-  การซึดน๊อตส่วนประกอบของ เฟรมอลูมิเนียม กับ เฟรมอลูมิเนียม ที่ทิ้งช่วงห่างเกินไป ประกอบกับตัวเส้นเฟรมเองก็บิด หรือ โก่ง ทำให้ส่วนประกอบของ เฟรมอลูมิเนียม กับ เฟรมอลูมิเนียม ไม่แนบสนิดกันดีพอ ฝนสาดเข้ามาก็มีโอกาส ซึมเข้าด้านในอาคารได้
-  น้ำรั่วซึมเข้าทางหน้าต่างบานกระทุ้ง ที่เมื่อใช้ไปนาน ๆ แล้วขาบานเกิดสนิม เวลาเปิด และ ปิด ทำให้หน้าต่างปิดไม่สนิดเกิดช่องให้น้ำฝนถูกลมพัดเข้ามาด้านในอาคารได้
-  น้ำรั่วซึมเข้าทางหน้าต่างบานเลือน ช่างติดตั้งบานตัดบานเลือนสั้นไป ไม่พอดีกับหน้าต่าง เลยปรับล้อหน้าต่างให้ฟิตกับตัวบาน เกิดช่องว่างด้านล่างของบาน ทำให้เวลาฝนตกมีลมพัอเข้ามา เอาฝนตามเข้ามาด้วย
-  น้ำรั่วจากภายนอกหน้าต่าง การยาแนว ซิลิโคนกระจกภายนอกไม่ดีพอ ทำให้ซิลิโคลหลุดออกมา หรือ ซิลิโคลหมดอายุการใช้งาน นำสามารถซึมผ่านหน้าต่างเข้ามาได้ หรือ อาจจะมาจากการยาแนวรอยต่อ ระหว่างเฟรม อลูมิเนียม กับ ขอบปูนต์ ไม่ดี หรือ เสือมสภาพ

-  เรื่องการระบายน้ำออกจากหน้าต่าง ต้องตรวจสอบ รู หรือ ช่อง ที่น้ำจะระบายออกหน้าต่าง ติดขัดอะไรหรือไม่ หากระบายไม่ดีน้ำจะท่วมรางไหลเข้าด้านในอาคารได้

รอยร้าวผนังปูนต์ตามแนวคานปูนต์

การยาแนวกันซึมที่ไม่สมบูรณ์

2 น้ำรั่วจากผนังปูนต์ เช่นจากรอยแตกร้าวของผนังปูนต์ โดยมากจะเกิดบริเวณ คานปูนต์ บัว หรือ ปีกนก หน้าต่าง หรือ มาจากรอยต่อ พีแคช ที่การยาแนวไม่ดี หรือ หมดอายุการใช้งาน ในบางที่ ผนังปูนต์ปรกติดี แต่เหนือห้องขึ้นไปเป็น กระถางต้นไมที่หล่อขึ้นเอง นานไปรอยต่อปูนต์ที่เป็นกระถาเกิดการแยกตัว ทำให้น้ำรั่วเข้าห้องได้

 ร้าวเฉียง ๆ ที่มุมกรอบวงกบหน้าต่าง

รอยร้าวที่มักจะเกิดที่มุมวงกบประตูหน้าต่างเป็นรอยเฉียงๆ พุ่งออกไปจาก มุมของวงกบ บางทีก็มีรอยเดียวมุมเดียว บางทีก็มีสองมุม

บางครั้งก็มีครบทั้งสี่มุม  มีอาการวงกบหน้าต่างบิดอาการนี้เกิดจากการไม่ทำเสาเอ็นหรือทับหลัง หรือทำเสาเอ็นหรือทับหลังไม่ ครบ คือเสาเอ็นนั้นไม่ได้ไปเชื่อมยึดกับคานบนคานล่าง หรือทับหลังไม่ได้วิ่งไปเชื่อม กับเสาของอาคาร บริเวณวงกบก็เกิดการบิดตัวได้ง่าย เนื่องจากคุณภาพของวัสดุ วงกบไม่ดีพอ หรือการยืดหดขยายของวงกบและผนังนั้นขยายหดไม่เท่ากัน ก็เลย เกิดรอยแตกร้าวดังกล่าวได้

รอยต่อไม่ได้ยิ่งกันซึมเอาไว้ มีผลให้ห้องด้านล่างมีปัญหาได้

รอยร้าวบนบัว เมื่อผ่านการใช้งานไประยะหนึ่ง จะหลุดออกมาจากผนังปูนต์  สวยแต่มั้กสร้างปัญหาที่หลังได้ ไม่จำเป็น อย่าติดดีกว่า รูปแบบของคิวบางแบบ เชิญชวนน้ำวิ่งเข้า หน้าต่าง

รอยต่อต่าง ๆ ไม่ได้ยาแนวโพลียูเรเทรน กันซึมเอาไว้ อาจทำให้น้ำเข้าไปภายในอาคารได้ แล้วหาทางออกตามจุดต่าง ๆ

         

3 น้ำรั่วซึมเข้ามาทางดาดฟ้า หลังคา เกิดจาก การทรุดตัวของอาคาร การผสมปูนต์ทรายไม่ได้ส่วน ทำให้ปูนต์ร้วนซุย หรือ มีรอยแตก ร้าวของพื้นหลังคาดาดฟ้า ในบางครั้งมีการต่อเติม มีการเจาะพื้นดาดฟ้า เพื่อ ติดตั้งสายล่อฟ้า แอร์ จานดาวเทียม หรือ มีการย้ายอุปกรณืบางอย่างอกไป แล้ว ไม่ยาแนวปิดรูน็อตที่เจาะเอาไว้ สามารถสร้างปัญหาที่หลังได้

รอยต่อ พีแคช อาคารที่มืผนังแบบเป็น ซีเม็นต์เป็นแท่ง ๆ มาต่อกัน


คนส่วนใหญ่จะคิดว่า น้ำรั่วเข้าทางหน้าต่าง หากแก้ปัญหา โดยการทำยาแนว ซิลิโคลหน้าต่างรอบอาคาร จะสามารถหยุดน้ำรั่วได้ 100% ซึ่งเป็นการเข้าใจผิด เพราะสาเหตุ ของการรั่วซึมมาจาก 3 ทางด้วยกัน แต่ละทาง ก็สามารภทำให้น้ำเข้าใหลมาออกทางหน้าต่าง หรือ ใหลมาออกทางเหนือฝ้าเพดานได้ทั้งสิ้น

สรุป  หากเห็นว่าน้ำใหลออกมาทางหน้าต่าง หรือ น้ำใหลมากองที่พื้น ก็อย่าเพิ่งเหมาว่าหน้าต่างยาแนวไม่ดี หรือ ตบี ตบัน ยาแนวหน้าต่างเป็นการใหญ่ เพราะ อาจทำให้เสียทรัพย์ฟรี แต่น้ำยังคงรั่วเหมือนเดิม


ปัจจุบัน สารกันซึมในทองตลาด ได้มีการผลิตกันออกมามากมายหลาย ยี่ห้อ มีทั้ง ผลิตจากต่างประเทศ และ ผลิตในประเทศไทย ที่นิยมใช้กันอยู่ตอนนี้ พอแบ่งได้ดังนี้

  

  ซิลิโคล นิยมใช้ยาแนวกระจกกับเฟรมอลูมิเนียม หรือ เฟรมอลูมิเนียมกับเฟรมอลูมิเนียม  มีอายุการใชฃ้งานยาวนานมาก เช่น ยี่ห้อ ดาวคอนนิ่ง ซิลิโคล ที่มีเบอร์ อย่างเช่น 791,793,795 ทางผู้ผลิตเข้าแจ้งว่ามีอายุนับ 10 ปี ที่เดียว แต่มีข้อเสีย คือ ทาสีทับไม่ได้ เมื่อเจอกับฝนมักจะมีคราบสกปรกยอยลงมาบนกำแพง

  โพลียูเรเทรน นิยมใช้ยาแนวระหว่าง เฟรมอลูมิเนียม กับ ขอบปูนต์ รอยต่อ อลูคาร์บอล รอยต่อ พีแคช (ระหว่างแผ่นปูนต์ซีเมนต์ที่หล่อมาเสร็จแล้ว) มีอายุการใช้งาน ยาวนาน (ทางบริษัท ผู้ผลิตไม่บอกตัวเลขที่แน่นอน) เมื่อยาแนวแห้งแล้ว สามารถทาสีทับได้เพื่อความสวยงามไม่มีสวนประกอบของน้ำมัน ดังนั้น เมื่อฝนตกลงมาจะไม่คอยมีรอยเปื้อนเป็นทางลงมาบนกำแพง

   อคิลิค นิยมใช้ทาทับบนพื้นผิววัสดุเกือบทุกชนิด ทาสีทับได้ มีอายุการใช้งานพอสมควร นิยมใช้ทาบนดาดฟ้า กำแพง หลังคา ใช้งานได้สดวกดี เหมือนทาสีทั่ว ๆ ไป บางชนิดมาเส้นใย ไฟเบอร์มาให้ด้วยเพื่อเสริมความแข็งแกร่ง สามารถเดินยำได้ บางชนิดต้องปูไฟเบอร์ด้านบน บางแบบ มีผสมปูนต์ด้วย

  ซีเมนต์กันซึม  นิยมใช้ยาแนวตามกระเบื้องปูพื้น ปูผนังทั่ว ๆ ไป


       

Copyright (c) 2006 by Your Name